เรื่องการรักษา
เป็นเรื่องชีวิตของคนไข้

เราจะต้องมีการพัฒนาตัวเอง ทั้งความรู้และเทคนิค
เพื่อให้ผลลัพธ์ของการผ่าตัดออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด

เราจะต้องมีการพัฒนาตัวเอง
ทั้งความรู้และเทคนิคเพื่อให้ผลลัพธ์
ของการผ่าตัดออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด

ผศ.นพ. ปุณวัฒน์ จันทรจำนง
หมอด้วง

ประวัติการศึกษา

ประกาศนียบัตร

เรื่องการรักษาเป็นเรื่องชีวิตของคนไข้ เราจะต้องมีการพัฒนาตัวเอง ทั้งความรู้และเทคนิค เพื่อให้ผลลัพธ์ของการผ่าตัดออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด

ความเชี่ยวชาญ
อาการและการรักษา

อาการ
  • เจ็บเวลาถ่าย หรือถ่ายเป็นเลือดสด
  • หัวริดสีดวงยื่นออกมานอกรูทวาร
  • คันรอบรูทวาร หรือมีภาวะก้นแฉะระหว่างวันได้
อาการ
  • ท้องผูกมากขึ้น
  • ถ่ายเป็นมูกเลือด
  • ท้องผูกสลับกับท้องเสีย
  • ปวดท้องเรื้อรัง
  • ถ่ายอุจจาระลำลีบเล็กลง
  • มีภาวะน้ำหนักลด
อาการ
  • ปวดบวมหรือเจ็บที่แก้มก้นด้านในหรือรอบๆ ทวารหนัก
  • มีน้ำเหลืองซึมจากแผลที่ทวารหนัก อาจมีเลือดปนหรือเป็นหนอง
อาการ
  • เจ็บที่ทวารหนักเวลาถ่ายอุจจาระแข็งอาจเจ็บและแสบหลังจากถ่าย
  • มีเลือดออกที่ทวารหนัก เป็นเลือดสดติดกระดาษชำระ
  • มีติ่งหรือก้อนที่ขอบทวารหนัก

ความเชี่ยวชาญ
การผ่าตัด/รักษา

LASER

โรคที่เกี่ยวข้อง: ริดสีดวงทวาร

คลื่นความถี่สูง (RFA)

โรคที่เกี่ยวข้อง: ริดสีดวงทวาร

LIGASURE

โรคที่เกี่ยวข้อง: ริดสีดวงทวาร

ผ่าตัดลำไส้แบบเปิดหน้าท้อง

โรคที่เกี่ยวข้อง: มะเร็งลำไส้ใหญ่

ผ่าตัดลำไส้แบบเจาะรูส่องกล้อง

โรคที่เกี่ยวข้อง: มะเร็งลำไส้ใหญ่

การส่องกล้องลำไส้ใหญ่
คัดกรองมะเร็งลำไส้

โรคที่เกี่ยวข้อง: มะเร็งลำไส้ใหญ่

FISTULOTOMY /FISTULECTOMY

โรคที่เกี่ยวข้อง: ฝีคัณฑสูตร

การผ่าตัดผูกท่อฝีคัณฑสูตร (LIFT)

โรคที่เกี่ยวข้อง: ฝีคัณฑสูตร

การผ่าตัดกล้ามเนื้อหูรูดทวาร (LIS)

โรคที่เกี่ยวข้อง: แผลขอบทวาร

คำถามที่พบบ่อย

การเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด

  • งดน้ำงดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
  • มาเตรียมตัวล่วงหน้าตามเวลาที่ทางรพ.แจ้งเพื่อทำการเจาะเลือด, x-ray, +/ - ทำคลื่นไฟฟ้า
  • เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการผ่าตัด

ช่วงระหว่างการผ่าตัด

  • วิสัญญีแพทย์จะทำการบล็อกหลัง หรือฉีดยาให้หลับตามที่กล่าวมาข้างต้น
  • ในระหว่างการผ่าตัดใช้เวลาประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมง
  • หลังผ่าตัดจะสังเกตอาการที่ห้องพักฟื้นจนมั่นใจ แล้วจึงกลับไปพักที่ห้องได้

การดูแลหลังการผ่าตัด

  • นอนโรงพยาบาลหลังผ่าตัดเฉลี่ย 1-2 คืน
  • หลังกลับบ้านแล้วสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ
  • ไม่ควรออกกำลังกายหนักๆ เช่น วิ่ง ฟิตเนส เต้นแอโรบิค โยคะ ในช่วง 1 เดือนแรก
  • จะมีการนัดติดตามอาการครั้งแรกประมาณ 1-2 สัปดาห์หลังผ่าตัด
• ในอดีตการผ่าตัดริดสีดวงจำเป็นต้องทำการบล็อกหลัง(spinal anesthesia) หรือการฉีดยาชาเข้าบริเวณช่องน้ำไขสันหลัง เพื่อระงับความปวดขณะผ่าตัด ซึ่งมีผู้ป่วยส่วนนึงที่กลัวหัตถการนี้มาก หรืออาจเกิดภาวะข้างเคียงเช่นปวดศีรษะ ปวดหลัง หรือปัสสาวะไม่ออกได้

• แต่ในปัจจุบันพบว่าการฉีดยาให้หลับร่วมกับการฉีดยาชาเฉพาะที่ (TIVA + perianal block) สามารถทำการผ่าตัดได้อย่างปลอดภัยเช่นกัน โดยวิธีนี้ไม่จำเป็นจำต้องนอนราบหลังผ่าตัด 6-8 ชั่วโมง ลดภาวะปัสสาวะไม่ออกหลังการผ่าตัดได้ จึงเป็นที่นิยมมากขึ้น สุดท้ายแล้วอาจต้องมีการปรึกษาพูดคุยกับทางวิสัญญีแพทย์ เพื่อพิจารณาวิธีที่เหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยที่สุด

รีวิวคนไข้

นายทดสอบ รีวิว

“ผ่าตัดกับคุณหมอ ไม่มีอะไรต้องกังวล เลยครับ”

นายยิ้มแย้ม แจ่มใส

“ผ่าตัดกับคุณหมอ ไม่มีอะไรต้องกังวล เลยครับ”

นางวันดี ศรีสุข

“คุณหมอดูแลดีตั้งแต่ ต้นจนจบการรักษา สบายหายห่วงเลยค่ะ”

นายยิ้มแย้ม แจ่มใส

“ผ่าตัดกับคุณหมอ ไม่มีอะไรต้องกังวล เลยครับ”

โรงพยาบาลและตารางวัน-เวลาการออกตรวจ

วันและเวลาออกตรวจอาจมีการเปลี่ยนแปลง โปรดทำนัดคุณหมอผ่านทาง line
รพ.นวเวช
ห้องตรวจศัลยกรรม ชั้น 1
วันพุธ
รพ.นนทเวช
ห้องตรวจศัลยกรรม ชั้น 1
วันพฤหัสบดี
รพ.เมดพาร์ค (MedPark)
ห้องตรวจศัลยกรรม ชั้น 6
วันอาทิตย์
รพ.พญาไท พหลโยธิน
ห้องตรวจศัลยกรรม ชั้น 6
รับเฉพาะเคสนัดทาง LineOA ล่วงหน้า
รพ.วิมุต
ห้องตรวจศัลยกรรม ชั้น 4
รับเฉพาะเคสนัดทาง LineOA ล่วงหน้า